ประเภทการนำเสนอบทความเดี่ยว (Individual Paper)
R01 : นิเวศวิทยาสิ่งแวดล้อม (20 พฤศจิกายน 2563 เวลา 10.45 – 12.15 น. ห้อง U2) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | “ญ่าย” หนีการพัฒนา : เรื่องเล่ามหัศจรรย์กับการเคลื่อนย้ายและการอพยพหลังการพัฒนาเขื่อนปากมูล | พงษ์เทพ บุญกล้า |
2 | ผลกระทบของความเป็นเมืองต่ออาหารและผู้คน: การศึกษาผ่านมุมมองนิเวศวิทยาเมือง | วาสนา ศรีจำปา |
3 | อำนาจกีดกันและการต่อรองในการเข้าถึงทรัพยากรลุ่มน้ำมูล: กรณีศึกษา บ้านโนนสัง อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ | เรวุฒิ ทองสิงห์* และ กนกวรรณ มะโนรมย์ |
4 | ภูมิปัญญาท้องถิ่นการใช้สมุนไพรในครัวเรือน กรณีศึกษา : ตำบลห้วยโรง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ | ดวงพร เพิ่มสุวรรณ* จันทร์จิรา นันตา และ วิกานดา ใหม่เฟย |
R02: วัฒนธรรมสมัยนิยม (Popular Culture) (20 พฤศจิกายน 2563 เวลา 10.45 – 12.15 น. ห้อง U5) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | การเติบโตของวัฒนธรรม “ไทบ้าน” ผ่านรถแห่มหรสพเคลื่อนที | จารุวรรณ ด้วงคำจันทร์ |
2 | อำนาจ ความรัก และการเป็น ‘ไทบ้าน’ : ภาพที่ (ไม่) เสนอในภาพยนตร์ไทบ้านเดอะซีรีส์ | วิมล โคตรทุมมี |
3 | วัตถุแอนะล็อกในยุคดิจิทัล: วัยรุ่นกับการบริโภคแผ่นเสียง | มุขธิดา เองนางรอง |
R03: วัฒนธรรมทางวัตถุ (Material Culture) (20 พฤศจิกายน 2563 เวลา 10.45 – 12.15 น. ห้อง U6) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | การหันเหสู่ชุมชน (community turn) ของศิลปะร่วมสมัย: การสำรวจทางทฤษฎีและแนวปฏิบัติเบื้องต้น | วรเทพ อรรคบุตร |
2 | การสร้างอัตลักษณ์ชุมชนผ่านการออกแบบบรรจุภัณฑ์เกลือท้องถิ่น | นันทวัน เจ๊กจันทึก |
3 | ภูมิปัญญาและการถ่ายทอดความรู้สล่าช่างไม้พื้นบ้านจังหวัดแพร่ | จันทร์จิรา นันตา* ดวงพร เพิ่มสุวรรณ และ ทิพารัตน์ สถิตสุข |
R04: ศาสนา ความเชื่อ พิธีกรรม ห้องที่ 1 (20 พฤศจิกายน 2563 เวลา 13.30 – 15.00 น. ห้อง U5) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | ความเชื่อเรื่องข้อห้ามเกี่ยวกับสตรีของไทยและญี่ปุ่น | วิศรุตา เฟอร์รารา* MISHIMA Kumiko และIWAMI Sayo |
2 | ภาพสะท้อนความเชื่อเรื่องพญานาคในอาณาบริเวณวัดป่าศรีมงคลรัตนาราม อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ | ธันยพงศ์ สารรัตน์ |
3 | ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์นครพนมและแขวงคำม่วน : ความเชื่อและพิธีกรรมการบูชาในพระธาตุศักดิ์สิทธิ์สองฝั่งโขง. | เกรียงไกร ผาสุตะ |
R05: ศาสนา ความเชื่อ พิธีกรรม ห้องที่ 2 (20 พฤศจิกายน 2563 เวลา 15.15 – 16.45 น. ห้อง U5) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | ข้อจำกัดของพุทธศาสนาเพื่อสังคม | เจษฎา บัวบาน |
2 | ความไม่มั่นคงของการดำรงอยู่ในสังคมหลังฆราวาสผ่านการทบทวนแนวคิด Existential Security | ธัญญาภรณ์ จันทรเวช* ผศ.ดร. ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์ |
3 | เปลี่ยนรูป แปลงร่าง อำพรางตารัฐ: สำรวจความเป็นความเป็นผู้กระทำการของกัญชาร่วมกับวัตถุอื่นในพิธีกรรมการแจกกัญชาของวัดแห่งหนึ่งในจังหวัดภาคกลาง | ศุภรดา เฟื่องฟู |
4 | พระใหญ่สกายวอร์ค: แลนด์มาร์คและสุนทรียศาสตร์ใหม่ของการท่องเที่ยว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย | ไทยโรจน์ พวงมณี |
R06: เพศ /ความเป็นชาย (20 พฤศจิกายน 2563 เวลา 13.30 – 15.00 น. ห้อง U-Store) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | เพศที่สาม คือ อะไร หรือ ใคร ในสังคมไทยผ่านวิธีคิดภาษาศาสตร์มานุษยวิทยา | สิริศิระ โชคทวีกิจ |
2 | ภาพลักษณ์ผู้ชายแห่งลุ่มทะเลสาบสงขลาจากวรรณกรรมฉบับพิมพ์เล่มเล็ก | ภานุวัฒน์ วรจินต์ |
3 | ความเชื่อของสถาบันตำรวจกับการสร้างความเป็นชาย | อู่ธนา สุระดะนัย |
4 | ไฟป่าไหม้ดอยสุเทพ: เมื่อวนศาสตร์และความเป็นชายต้องการที่จะจัดการและควบคุมไฟป่า | สุเมธ รักษ์จันทร์ |
R07: เศรษฐกิจ (เฮ็ดอยู่/เฮ็ดขาย) (20 พฤศจิกายน 2563 เวลา 15.15 – 16.45 น. ห้อง U-Store) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | แปลงความเสี่ยงให้เป็นทุน เพื่อบ้านที่มั่นคงกว่า กรณีศึกษา: กองทุนรักษาดินรักษาบ้าน เครือข่ายบ้านมั่นคงเทศบาลนครอุดรธานี | ธนศักดิ์ โพธิ์ศรีคุณ |
2 | วังกุ้ง การทำเกตรกรรมแบบพื้นบ้าน กับปัญหาการรุกรานของสัตว์น้ำต่างถิ่น และปัญหาจากโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดสมุทรสาคร | ปิยชัย นาคอ่อน |
R08: ประวัติศาสตร์บอกเล่า (20 พฤศจิกายน 2563 เวลา 15.15 – 16.45 น. ห้อง U6) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | การฟื้นฟูสำนึกชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นอย่างมั่นคงยั่งยืนด้วยกระบวนการประวัติศาสตร์บอกเล่าในชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | ปริญ รสจันทร์ |
2 | จากผู้เสียหัวและจอมโจรถึงผู้มีรายได้น้อย : ความหมายในความยากจนของชุมชนริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 23 | ปริญ รสจันทร์* นุชรินทร์ มิ่งโอโล และ นันทวัน เจ๊กจันทึก |
3 | จากนาคดั้น ถึงโพรงหิน : ความเชื่อและความหมายในหลุมยุบของชุมชนเกลือในภาคอีสาน | นุชรินทร์ มิ่งโอโล |
4 | กลิ่น รส และหนอน: อัตลักษณ์ของปลาแดก (เป็น) ความทรงจำในวิถีอาหารแห่งบ้านปากยาม | ทุติยาภรณ์ ภูมิดอนมิ่ง |
5 | โลกอุดมคติในดินแดนพิศวงของเมืองลับแล การคลี่ญ่ายของเรื่องเล่าและชุมชนจากเหนือจรดใต้ | วธวัลรัตน์ พรหมวิเศษ |
R09: ตลาดท้องถิ่น / การค้าชายแดน (21 พฤศจิกายน 2563 เวลา 09.00 – 10.30 น. ห้อง U-store) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | พลวัต “กาดเมืองเชียงตุง” บนเวทีเศรษฐกิจและความเป็นชาติพันธุ์ | ดุจฤดี คงสุวรรณ์ |
2 | การบูรณาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการยั่งยืนของ ตลาดเช้า- แลง | วิธวินท ภาคแก้ว |
3 | รัฐชายแดนจำบัง: การเคลื่อนและข้ามของขอบเขตระหว่างมนุษย์กับสิ่งของในช่วงการค้าชายแดน บริเวณจุดผ่อนปรนการค้าชายแดนไทย-ลาวท่าอุเทน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม | วัลลภ บุญทานัง |
R10: การเมืองกับตัวแทน (21 พฤศจิกายน 2563 เวลา 09.00 – 10.30 น. ห้อง U6) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | ศึกษาเปรียบเทียบวีรบุรุษของชาติในแบบเรียนภาษาลาวและภาษาเวียดนามระดับประถมศึกษา | วัชรี ศรีคำ |
2 | ความฝันของผู้ยังไม่มีบุญ: กบฏผู้มีบุญภาคอีสาน ค.ศ.1902 ในมุมมองใหม่ | ธิบดี บัวคำศรี |
3 | ภาพตัวแทนปลายด้ามขวาน : อ่าน “ชายแดนใต้” ผ่านเพลงร่วมสมัยหลัง พ.ศ.2547 | สมัชชา นิลปัทม์ |
4 | วงจรอุบาทว์ในการเมืองไทย (The Vicious Cycle in Thai Politics) | จันจิรา ดิษเจริญ |
R11: การเมืองกับวัตถุ (21 พฤศจิกายน 2563 เวลา 13.30 – 15.00 น. ห้อง U5) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | อนุสรณ์สถานประธานโฮจิมินห์จังหวัดนครพนม: การสร้างพื้นที่แห่งความทรงจำเกี่ยวกับโฮจิมินห์ในชุมชนชาวเวียดนามพลัดถิ่นในเมืองไทย | สุริยา คำหว่าน |
2 | ปริซึมของภาพถ่าย: : Archival Art ว่าด้วยเหตุการณ์หกตุลา | ธนาวิ โชติประดิษฐ |
3 | การเมืองดิจิตอล (digital politics) : การเปลี่ยนภูมิทัศน์ทางการเมืองของคนกลุ่มใหม่ในโลกเสมือน | ชัยพงษ์ สำเนียง |
4 | ต่อรองต่อต้านผ่านวัตถุ: จากวัตถุเพื่อการประท้วงสู่วัตถุเพื่อการต่อต้านหลังรัฐประหาร ๒๕๕๗ | ปิยรัตน์ ปั้นลี้ |
R12: การเคลื่อนย้าย (Mobility) (21 พฤศจิกายน 2563 เวลา 10.45 – 12.15 น. ห้อง U5) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | Following Method: วิธีวิทยาของการศึกษาแบบติดตามการเคลื่อนย้าย | นายชัชชล อัจนากิตติ |
2 | “ความปรารถนากับวิถีชีวิต “สองถิ่นที่” ของครอบครัวข้ามแดนในชุมชนชายแดนไทย-ลาว” | พลวิเชียร ภูกองไชย* และ พัชรินทร์ ลาภานันท์ |
3 | สุขภาวะของผู้สูงอายุย้ายถิ่นเข้าสู่เมืองหลักในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | อิทธิพงษ์ ทองศรีเกตุ |
R13: Covid-19 ห้องที่ 1 (21 พฤศจิกายน 2563 เวลา 10.45 – 12.15 น. ห้อง U6) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | กลุ่มดะวะห์ในโควิค-19 กับกระแสสังคม | แจ๊ะอัซวานี เจ๊ะแว |
2 | Social Distancing ทำให้ผู้สูงอายุเกิดความเครียดได้จริงหรือ | สากียะห์ มะรงค์ |
3 | ผู้เฒ่าอีสาน: ผลกระทบกับการปรับตัวในภาวการณ์ระบาดของโควิด 19 | วรธนิก โพธิจักร |
4 | ชีวิตแม่ค้า : ผลกระทบด้านเศรษฐกิจและประสบการณ์การปรับตัวภายใต้สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 | นางสาวนิรัตรี สุขดี |
5 | ชีวิตที่เคลื่อนย้าย: การดำรงชีพแบบเชื่อมโยงข้ามถิ่น กับผลกระทบจากโควิด 19 | พฤกษ์ เถาถวิล |
R14: Covid-19 ห้องที่ 2 (21 พฤศจิกายน 2563 เวลา 13.30 – 15.00 น. ห้อง U6) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | ผลกระทบทางเศรษฐกิจของครัวเรือนไทยจากสถานการณ์โควิด-19 | เดชรัต สุขกำเนิด |
2 | การสร้างมิตรคติของเจ้าหน้าที่วิกฤติการณ์โควิด-19 | สโรชา ชูแก้ว |
3 | ความกลัวและการหลุดพ้น กรณี การแพร่ระบาดเชื้อโรคโควิด-19 ในสังคมมลายู | อาวาตีฟ อิสาหะ |
4 | การปรับตัวของเกมกระดานในสถานการณ์โควิด-19: จากออฟไลน์สู่ออนไลน์ | แดนไท สุขกำเนิด |
5 | การศึกษาไร้พรมแดนก้าวหน้าหรือถดถอยหลังโควิด 19 | กุศล พยัคฆ์สัก |