ประเภทการนำเสนอเวทีวิชาการ (Panel)
Panel 01: พลวัตขบวนการประชาสังคมกับบทบาทประชาคมท้องถิ่น ในประเทศไทย ญี่ปุ่น และ สปป. ลาว : ประสบการณ์ร่วม จุดเหมือน และข้อแตกต่าง | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | พลวัตขบวนการประชาสังคมกับบทบาทประชาคมท้องถิ่น ในประเทศไทย ญี่ปุ่น และ สปป. ลาว : ประสบการณ์ร่วม จุดเหมือน และข้อแตกต่าง | โนริยูกิ ซูซูกิ |
2 | บทบาทของ Residents’ Association (Jichikai) ในเมือง Ginowan กับการสร้างพื้นที่กลางในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งเรื่องฐานทัพอเมริกาในจังหวัดโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น เปรียบเทียบกับการสร้างพื้นที่กลางในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย | ธนพัชญ์ จันทร์ดิษวงษ์ |
3 | การพัฒนาภายในของลาวในยุคโลกาภิวัตน์: กรณีศึกษาแนวทางการพัฒนาชนบทที่แตกต่าง | Phonemany Vongxay |
4 | จากเกษตรกรสู่ผู้ประกอบการ: ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและเครือข่ายทางสังคม | นุชนารถ สมควร |
Panel 02: นิคมธรรมชาติ: แอนโทรโพซีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | นิคมธรรมชาติ: แอนโทรโพซีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | ณภัค เสรีรักษ์ |
กษมาพร แสงสุระธรรม | ||
กิตติมา จารีประสิทธิ์ | ||
วิภาช ภูริชานนท์ | ||
Panel 03: เรือนร่าง พื้นที่ เทคโนโลยี และการจัดการร่างกายที่เป็นแหล่งโรค | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | พื้นที่เชิงเทคโน : การประกอบสร้างเชิงภววิทยาของวิถีความเป็นแม่ผ่านเทคโนโลยีเพื่อการเจริญพันธุ์ | ปาณิภา สุขสม |
2 | โครงการแฟลตบ้านเอื้ออาทร: การคงอยู่ของพื้นที่แบบขอบเขตไม่ชัดเจน | อมต จันทรังษี |
3 | “พวกเราเป็นนักร้องตาบอดไม่ใช่ขอทาน”: การบาลานเรือนร่างพิการของนักร้องตาบอดกับระบอบการมองและอำนาจการจับจ้องในชีวิตประจำวัน | ประชาธิป กะทา |
4 | อำนาจเบ็ดเสร็จในพื้นที่ชายแดนใต้ท่ามกลาง COVID-19 กับชีวิตแรงงานคืนถิ่นจากมาเลเซีย | ชลิตา บัณฑุวงศ์ |
5 | วิธีวิทยาของพื้นที่สนธยา และร่างกายของพัฒน์พงษ์ | จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ |
Panel 04: พื้นที่ความรู้ของการเคลื่อนย้าย: พลเมืองผู้ตื่นตัว แรงงาน การพัฒนา และการท่องเที่ยว Knowledge Space and Mobility: Active Citizen, Labour, Development and Tourism | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | ผู้ตื่นตัวทางการเมืองที่ไม่ใช่พลเมือง การช่วงชิงความเป็นพลเมือง | อัจฉรา รักยุติธรรม |
2 | การดิ้นรนต่อสู้เพื่อเป็นผู้ประกอบการของแรงงานข้ามชาติที่เป็นพนักงานขายบริการในเมืองเชียงใหม่ | วิจิตร ประพงษ์ |
3 | ศาสนากับการเคลื่อนย้ายของแรงงานชาติพันธุ์จากไทยสู่สาธารณรัฐเกาหลีใต้ | วาสนา ละอองปลิว |
4 | มนุษย์โครงสร้างพื้นฐาน”: ชีวิตรอบโครงการพัฒนาการเกษตรรอบเมืองในกระแสทุนนิยม | วิศิษย์ ปิ่นทองวิชัยกุล |
5 | สตรีผู้ประกอบการและการช่วงชิงพื้นที่ท่องเที่ยวในเมืองชายแดนปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน | ไพบูลย์ เฮงสุวรรณ |
Panel 05: Discipline (s): ระเบียบ-วิธี-วิ (นั) ย การทบทวนแนวคิดและการสนทนาข้ามศาสตร์ของนักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | Discipline (s): ระเบียบ-วิธี-วิ (นั) ย การทบทวนแนวคิดและการสนทนาข้ามศาสตร์ของนักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา | วิภาวี พงษ์ปิ่น |
อาจินต์ ทองอยู่คง | ||
สิทธิโชค ชาวไร่เงิน | ||
อัครนัย ขวัญอยู่ | ||
Panel 06: บทสะท้อน การคลี่-คลาย-ญ่าย-เคลื่อน จากปัญหาภัยพิบัติน้ำท่วมฉับพลันพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | บทสะท้อน การคลี่-คลาย-ญ่าย-เคลื่อน จากปัญหาภัยพิบัติน้ำท่วมฉับพลันพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง | วชิรวัตติ์ อาริยะสิริโชติ |
ปัญจเดช สิงห์โท | ||
อ้อมบุญ ทิพย์สุนา | ||
Panel 07: การขับเคลื่อนชุมชนเพื่อความมั่นคงทางอาหาร | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | กระบวนการสร้างโจทย์วิจัยจากชุมชนกรณีศึกษาการขับเคลื่อนเพื่อความมั่นคงทางอาหารของชุมชน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย | เอกรินทร์ พึ่งประชา |
2 | วิถีการผลิตข้าวในบริบทด่านซ้าย: อำนาจและการต่อรองของเกษตรกรสูงอายุเพื่อความมั่นคงทางอาหาร | ฐิตินันท์ ใกล้ชิด |
3 | “น้ำผักสะทอน” ภูมิปัญญาท้องถิ่นด่านซ้ายกับความมั่นคงทางอาหาร | จริยา นาคำภา |
4 | การจัดการภัยแล้งในระบบอาหารของเกษตรกร อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย | นิจนันท์ ปาณะพงศ์ |
Panel 08: : เวลาที่หายไปของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: ความทรงจำของสงครามเย็นในศิลปะร่วมสมัย ของสะสมและบันทึกประวัติศาสตร์ (Southeast Asia’s Lost Time: The Memoirs of Cold War in Contemporary Art, Memorabilia, and Historical Records) | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | “เวลาที่หายไป: ร่องรอยของวัฒนธรรมสงครามเย็นในศิลปะร่วมสมัยของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” | บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ |
2 | ความไร้น้ำยาของ “สังคมศาสตร์สงครามเย็น” และอำนาจของมนุษยศาสตร์ในภาคใต้: สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์-นิธิ เอียวศรีวงศ์ กับประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาว่าด้วยการก่อตัวของอัตลักษณ์เชิงภูมิภาคในทักษิณคดีศึกษา | ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล |
3 | การต่างประเทศต่างพระเนตรพระกรรณ: บ่อเกิดกระทรวงการต่างประเทศไทยและมรดกตกทอดในยุคสงครามเย็น | ปราน จินตะเวช |
4 | จากสมรภูมิที่เวียดนามสู่สงครามทุนแฟชั่นของนักสะสมชาวไทย: ความทรงจำของสงครามเย็นที่ถูกจินตนาการใหม่ผ่านวัตถุ | ชัยพร สิงห์ดี |
Panel 09: สังคมวิทยาภัยพิบัติ: เรื่องเล่าและชุดความรู้เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติจังหวัดอุบลราชธานี | ||
ผู้นำเสนอ | ||
1 | บทบาทของผู้หญิงในการเตรียมความพร้อมรับมือกับสถานการณ์ภัยพิบัติธรรมชาติ และสถานการณ์ภัยพิบัติจากน้ำมือของมนุษย์ | อลิสา หะสะเมาะ |
2 | สังคมวิทยาภัยพิบัติ: เรื่องเล่าและชุดความรู้การจัดการความเสี่ยงจากน้ำท่วมจังหวัดอุบลราชธานี | กนกวรรณ มะโนรมย์ |
สุรสม กฤษณะจูฑะ | ||
แมน ปุโรทกานนท์ | ||
ไพศาล จี้ฟู | ||
Panel 10: สังคมวิทยาการพนัน: จริยศาสตร์ VS วัฒนธรรม | ||
ลำดับ | หัวข้อ | ผู้นำเสนอ |
1 | การพนัน: วิถีจริยศาสตร์ในกลุ่มแรงงานข้ามชาติพม่า | ประเสริฐ แรงกล้า |
2 | การพนันในอีสาน: มองผ่านบริบทวัฒนธรรมความเชื่อและวัฒนธรรมการเมือง | ธวัช มณีผ่อง |
ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ | ||
จันทรา ธนวัฒนาวงศ์ | ||